หน้าเว็บ

วันพฤหัสบดีที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

Basic Router Configuration

                ในการกำหนดค่าให้เราเตอร์ มีค่าเบื้องต้นที่ต้องกำหนดดังนี้
                            - ชื่อเราเตอร์ (host name)
                            - กำหนด password
                            - กำหนดค่าให้อินเตอร์เฟส
                            - กำหนดค่า banner
                           - บันทึกค่าที่กำหนด
                            - ตรวจสอบค่าที่กำหนดไว้และตรวจสอบการทำงานของเราเตอร์

การเชื่อมต่อเราเตอร์แบบพื้นฐาน


Device
Interface
IP Address
Subnet Mask
Default Gateway
R1
Fa0/0
192.168.1.1
255.255.255.0
N/A
S0/0/0
192.168.2.1
255.255.255.0
N/A
R2
Fa0/0
192.168.3.1
255.255.255.0
N/A
S0/0/0
192.168.2.2
255.255.255.0
N/A
PC1
N/A
192.168.1.10
255.255.255.0
192.168.1.1
PC2
N/A
192.168.3.10
255.255.255.0
192.168.3.1

คำสั่งพื้นฐานการกำหนดค่าให้กับเราเตอร์

Naming the router
Router(config)# hostname  name
Setting passwords
Router(config)# enable  secret   password

Router(config)# line  console  0

Router(config-line)# password  password

Router(config-line)# login

Router(config)# line   vty  0  4

Router(config-line)#  password   password

Router(config-line)# login
Configuring a message-of-the-day banner
Router(config)# banner motd  # message #
Configuring an interface
Router(config)# interface  type  number

Router(config-if)# ip  address   address   mask

Router(config-if)# description   description
Router(config-if)# clock rate  64000

Router(config-if)# no  shutdown
Saving Changes on a router
Router#  copy  running-config  startup-config
Examining the output of show commands
Router#  show  running-config

Router# show  ip  route

Router# show  ip   interface  brief

Router# show interfaces

คำสั่งกำหนดเส้นทาง(routing)ให้กับเราเตอร์
R1(config)# ip   route  192.168.3.0   255.255.255.0  192.168.2.2
R2(config)# ip   route   192.168.1.0  255.255.255.0  192.168.2.1

การดูสถานะอินเตอร์เฟซ
Name
Location
General Meaning
Line status
สถานะแรก
บอกถึงสถานะของเลเยอร์ 1 เช่น การต่อสายเคเบิลถูกหรือไม่ อุปกรณ์ปลายทางเปิดหรือไม่
Protocol Status
สถานะที่สอง
บอกถึงสถานะของเลเยอร์ 2  ซึ่งจะ down เสมอ ถ้าสถานะของ line คือ down ถ้าหากสถานะของ line คือ up แต่สถานะของ protocol down จะเป็นที่ความผิดพลาดของชั้น Data link  

สถานะอินเตอร์เฟซที่เกิดขึ้นได้
สถานะ Line and Protocol
สาเหตุ
Administratively down, down
มีการใช้คำสั่ง shutdown  อินเตอร์เฟซ
down,  down
มีปัญหาระดับ physical เช่น การต่อสายเคเบิลผิด หรืออุปกรณ์ที่ต่อด้วยไม่ได้เปิด
up,  down
ปัญหาระดับ data link เช่น กำหนดค่าผิด
up,  up
สถานะการทำงานปกติ

อธิบายความหมายส่วนข้อมูลที่ได้จากคำสั่ง show interface
Output
ความหมาย
FastEthernet ….. is {up | down  | administratively down}
แสดงสถานะของอินเตอร์เฟซปัจจุบัน ว่าปรกติหรือไม่
Line protocol is {up | down}
แสดงสถานะของ line
Hardware
ชนิดของฮาร์ดแวร์ เช่น MCI Ethernet, serial  [SCI], cBus ) and MAC address
Description
ตัวอักษรที่อธิบายไว้ (กำหนดได้สูงสุด 240 ตัว)
Internet address
ip address และ subnet mask
MTU
ขนาด MTU ของอินเตอร์เฟซ
BW
ขนาดแบรนวิดธ์ของอินเตอร์เฟซ (kilobits per sec) ค่านี้จะนำไปใช้คำนวน เช่น routing protocol จะใช้คำนวนหาค่า Matrics
DLY
ค่า delay ของอินเตอร์เฟซ หน่วยเป็น microseconds
rely
ค่าความน่าเชื่อถือของอินเตอร์เฟซจาก 255 (255/255 คือมีความน่าเชื่อถือ 100%)
load
โหลดของอินเตอร์เฟซจาก 255 (255/255 คือมีการทำงานสูงสุด)
Encapsulation
วิธีการ encapsulation ของอินเตอร์เฟซ
loopback
จะระบุหากมีการกำหนด loopback
keepalive
จะระบุหากมีการกำหนด keepalive
ARP type
ชนิดของ ARP ที่กำหนด
Last input
จำนวน ชั่วโมง , นาที และวินาที ที่รับเพกเกจมาสำเร็จจากอิเตอร์เฟซ เป็นประโยชน์สำหรับการใช้ดูเมื่ออินเตอร์เฟซที่ไม่ทำงาน
output
จำนวน ชั่วโมง ,นาที และวินาทีเมื่อมีการส่งเพกเกจจากอินเตอร์เฟซสำเร็จ
output hang
จำนวน ชั่วโมง ,นาที และวินาที  หรือ never เมื่ออินเตอร์เฟซมีการรีเซ็ตเนื่องจากการส่งใช้เวลานานเกินไป
Last clearing
เวลาเมื่อมีการรีเซ็ตค่าต่างๆ ที่แสดงจากคำสั่งนี้เป็น 0 เช่นจำนวนของไบต์รับและส่ง จากคำสั่ง clear interface (ค่าที่มีผลต่อเราเตอร์ จะไม่ถูกรีเซ็ต เช่น load , reliability)
Output queue, intput queue, drops
จำนวนคิวของเพกเกจอินพุทและเอาท์พุท จำนวนจะตามด้วยเครื่องหมาย /  ขนาดสูงสุดของคิว และจำนวนของเพจเกจที่ถูกดร็อปเมื่อคิวเต็ม
Five minute input rate,
Five minute output rate
ค่าเฉลี่ยของจำนวนบิตและเพกเกจต่อวินาที ใน 5 นาทีที่ผ่านมา
packets input
จำนวนเพกเก็จทั้งหมดที่รับเข้ามาในระบบ
bytes input
จำนวนไบต์ทั้งหมดรวมถึงข้อมูล MAC encapsulation ที่รับเข้ามาในระบบ
no buffers
จำนวนของเพจเก็จที่ไม่ได้รับ เนื่องจากบัฟเฟอร์ของระบบเต็ม เปรียบเทียบกับ “ignored count”  บ่อยครั้งที่การเกิด Broadcast storms จะทำให้บัฟเฟอร์เต็ม
Received…. Broadcasts
จำนวนทั้งหมดของเพกเกจ broadcast หรือ multicast ที่อินเตอร์เฟซได้รับ โดยปกติจำนวนของ broadcast ไม่ควรเกิน 20% ของจำนวนเพกเกจที่รับมาทั้งหมด
runts
จำนวนของเฟรม Ethernet ที่ปล่อยทิ้งเพราะเฟรมมีขนาดเล็กกว่าขั้นต่ำของเฟรม Ethernet  เฟรมที่มีขนาดต่ำกว่า 64 bytes จะเป็น runts มักจะเกิดจากการชนกัน (collisions)  ถ้าหากมีมากกว่า 1 ล้านไบต์ แสดงว่าผิดปกติต้องมีการตรวจสอบ
giants
จำนวนของเฟรม Ethernet  ที่ถูกละทิ้งเพราะมีขนาดใหญ่เกินขนาดเฟรมปกติ หากเฟรมใดที่มีขนาดเกิน 1518 ไบต์ คือ giant
input error
runts, giants, no buffer , cyclic redundancy check(CRC), frame, overrun และ ignored counts.  มี error บางตัวอาจไปรวมกับจำนวน error ตัวอื่นๆด้วย ดังนั้นหากเอาจำนวน error แต่ละส่วนมารวมกัน อาจไม่เท่ากับจำนวน input error
CRC
CRC สร้างมาจากอุปกรณ์ใน LAN หรือ จากการคำนวนค่า checksum ไม่ตรงกัน ในส่วนของ LAN ค่านี้จะบอกถึงปัญหาในการรับส่งของอินเตอร์เฟซ สัญญาณรบกวน หากจำนวน CRC มากๆ แสดงว่า มีการชนกันหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูลมีปัญหา
frame
จำนวนของเพกเกจที่ไม่ถูกต้องที่รับมา เกิดจากการชนกันหรืออุปกรณ์ทำงานผิดปกติ
overrun
จำนวนครั้งที่อุปกรณ์ไม่สามารถรับข้อมูลเนื่องจากข้อมูลที่เข้ามาเกินขนาดที่บัฟเฟอร์จะรับได้
ignored
จำนวนของเพกเกจที่อินเตอร์เฟซไม่รับ เพราะอินเตอร์เฟซมี internal buffer ไม่พอ (คนละตัวกับ system buffer) ซึ่งอาจเกิดจาก Broadcast storm และ bursts (สัญญาณรบกวน)
input packets with dribble condition detected
เพจเกจที่มีความผิดผลาดที่เราเตอร์รับเข้ามา
packets output
จำนวนข้อความทั้งหมดที่ส่งออกโดยระบบ
bytes
จำนวนของไบต์ทั้งหมด เช่น ข้อมูล MAC encapsulation ที่ส่งออกโดยระบบ
underruns
จำนวนครั้งที่ตัวส่งเร็วกว่าที่เราเตอร์รับได้ ซึ่งอาจจะไม่รายงานในบางอินเตอร์เฟซ
output errors
ผลรวมของ error ที่เกิดขึ้นทั้งหมด
collisions
จำนวนของข้อความที่ส่งใหม่เนื่องจากเกิด Ethernet collision มักเกิดจากการขยาย LAN มากเกินไป เช่น สายยาวเกินไป ต่อพวงสวิตซ์มากเกินไป
Interface resets
จำนวนครั้งของการรีเซ็ตอินเตอร์เฟซ เกิดขึ้นเมื่อเพกเกจที่อยู่ในคิวไม่ถูกส่งในเวลาที่กำหนด ในสาย serial อาจเกิดจากโมเด็มไม่สร้างสัญญาณนาฬิกา หรือสายมีปัญหา ถ้าหากเราเตอร์เตือนว่า serial is up , แต่ line protocol is down  อินเตอร์เฟซจะทำการรีเซ็ตเป็นระยะๆ และการรีเซ็ตอาจเกิดได้จากเกิด looped back หรือ shutdown

คำสั่งทดสอบอื่นๆ
R1# ping  192.168.3.10
R1# traceroute  192.168.3.10
R1# telnet 192.168.2.2